เว็บนี้ดีหรือไหม

วันอาทิตย์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

เพลง จะได้เจออีกไหม

ต่อจากนี้คงไม่มีเธอกับฉัน 
สุดท้ายแล้วเราก็คงต้องจากกัน 
เรื่องราวในวันพรุ่งนี้จะเปลี่ยนไปแค่ไหน 
จะพบอะไรไม่รู้ฉันเองยังหวั่น 
แต่สิ่งที่รู้ตอนนี้คือใจของฉัน 

ไม่ว่าวันพรุ่งนี้นั้นจะเป็นอย่างไร 
บอกเธอไว้ว่าฉันคงลืมเธอไม่ได้ 
คงคิดถึงเธอ แล้วมีเธออยู่ในใจเสมอ 

เมื่อนึกถึงวันดีๆ ที่ผ่านมา 
ก็อยากจะย้อนวันเวลาไปอีกครั้ง 
ถึงแม้ว่าจากนี้เราจะไม่ได้เจอ 
แต่รู้เอาไว้เสมอแม้เราจะห่าง 
แต่สิ่งที่จะไม่เปลี่ยนคือใจของฉัน 

ไม่ว่าวันพรุ่งนี้นั้นจะเป็นอย่างไร 
บอกเธอไว้ว่าฉันคงลืมเธอไม่ได้ 
คงคิดถึงเธอ และมีเธออยู่ในใจ 

ความรู้สึกว่ารักที่ฉันมีต่อเธอ 
จะเก็บไว้เสมอไม่ว่านานเท่าไร 
และหัวใจจะรอ 
ไม่ว่าเราจะได้พบกันอีกไหม 

ไม่ว่าวันพรุ่งนี้จะเป็นอย่างไร 
บอกเธอไว้ว่าฉันคงลืมเธอไม่ได้ 
คงคิดถึงเธอ แล้วมีเธออยู่ในใจ 

ความรู้สึกว่ารักที่ฉันมีต่อเธอ 
จะเก็บไว้เสมอไม่ว่านานเท่าไร 
และหัวใจจะรอ 
ไม่ว่าเราจะได้พบกันอีกไหม 

ความรู้สึกว่ารักที่ฉันมีต่อเธอ 
จะเก็บไว้เสมอไม่ว่านาน แค่ไหน 
และหัวไจจะรอ ไม่ว่าเราจะได้พบกันอีกไหม

เพลงช่วงที่ดีที่สุด

เดินจับมือกัน ทุกข์สุขด้วยกัน 
หัวเราะร้องไห้ด้วยกันมานานเท่าไร 
ฉันไม่เคยลืมจากใจ
วันที่เรายิ้ม วันที่ทะเลาะ 
ภาพวันและคืนเหล่านั้นจะยังงดงามไม่เคยเปลี่ยนไป
ยังคงเป็นดั่งเหมือนกับเมื่อวาน อยู่ในส่วนลึกความทรงจำ
แตกต่างกันแค่เพียงในตอนนี้...

ฉันนั้นไม่ได้มีเธออยู่ข้างๆ 
เหมือนวันที่เราเคยเดินข้ามผ่าน 
ทุกๆสิ่ง ทุกๆอย่างมาด้วยกัน
นับเป็นช่วงชีวิตที่ดีที่สุด แม้เป็นแค่เพียงเวลาสั้นๆ 
ที่เคยเกิดขึ้นกับฉัน เพราะเธอ...

เพลงและของขวัญ ตั๋วจากโรงหนัง 
จดหมายที่ส่งให้กันในวันที่ห่าง ฉันนั้นยังคงเก็บไว้
วันที่เหนื่อยล้า ถ้อยคำที่ปลอบใจ 
ภาพวันและคืนเหล่านั้นจะยังงดงามไม่เคยเปลี่ยนไป
ยังคงเป็นดั่งเหมือนกับเมื่อวาน อยู่ในส่วนลึกความทรงจำ
แตกต่างกันแค่เพียงในตอนนี้...

ฉันนั้นไม่ได้มีเธออยู่ข้างๆ 
เหมือนวันที่เราเคยเดินข้ามผ่าน 
ทุกๆสิ่ง ทุกๆอย่างมาด้วยกัน
นับเป็นช่วงชีวิตที่ดีที่สุด แม้เป็นแค่เพียงเวลาสั้นๆ 
แต่ก็เคยเกิดขึ้นกับฉัน เพราะเธอ...

ไม่รู้ว่าเธอ ไม่รู้ว่าจะได้ยินเพลงนี้หรือยัง
อยากจะให้เธอช่วยมารับฟัง ว่าฉันนั้นคิดถึง

ฉันนั้นไม่ได้มีเธออยู่ข้างๆ 
เหมือนวันที่เราเคยเดินข้ามผ่าน 
ทุกๆสิ่ง ทุกๆอย่างมาด้วยกัน
นับเป็นช่วงชีวิตที่ดีที่สุด แม้เป็นแค่เพียงเวลาสั้นๆ 
ที่เคยเกิดขึ้นกับฉัน... 

ฉันนั้นไม่ได้มีเธออยู่ข้างๆ 
เหมือนวันที่เราเคยเดินข้ามผ่าน 
ทุกๆสิ่ง ทุกๆอย่างมาด้วยกัน
นับเป็นช่วงชีวิตที่ดีที่สุด แม้เป็นแค่เพียงเวลาสั้นๆ 
แต่ก็เคยเกิดขึ้นกับฉัน เพราะเธอ...

เพราะเธอ... (ทุกๆสิ่ง ทุกๆอย่าง ได้ผ่านมาด้วยกัน)
นับเป็นช่วงชีวิตที่ดีที่สุด (เพราะเธอ...) แม้เป็นแค่เพียงเวลาสั้นๆ (เพราะเธอ...)
แต่ก็เคยเกิดขึ้นกับฉัน เพราะเธอ... (เพราะเธอ...)

วันอังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ประวัติบาสเกตบอล

การแข่งขันบาสเกตบอลหญิงชิงถ้วยยุโรปของ FIBA ปี พ.ศ. 2548
ไมเคิล จอร์แดน ขณะกระโดดแสลมดังก์
บาสเกตบอล (อังกฤษ: basketball) เป็นกีฬาชนิดหนึ่งซึ่งแบ่งผู้เล่นเป็น 2 ทีม แต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่น 5 คนพยายามทำคะแนนโดยการโยนลูกเข้าห่วงหรือตะกร้า (basket) ภายใต้กติกาการเล่นมาตรฐาน
ตั้งแต่ที่คิดค้นขึ้นในปี พ.ศ. 2434 (ค.ศ. 1891) โดยเจมส์ เนสมิท[1] บาสเกตบอลได้ถูกพัฒนาขึ้นเป็นกีฬาสากล กีฬานี้มีจุดเริ่มต้นจากในวายเอ็มซีเอ[1][2] ลีกที่เกิดขึ้นในสมัยแรก ๆ เป็นระดับมหาวิทยาลัย ต่อมากลายเป็นกีฬาอาชีพ[ต้องการอ้างอิง] มีการจัดตั้งลีกเอ็นบีเอ (National Basketball Association, NBA) และเริ่มมีการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกเมื่อ พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936)[1] ถึงแม้ว่าในระยะแรกยังเป็นกีฬาที่เล่นเฉพาะในสหรัฐอเมริกา กีฬาชนิดนี้แพร่ขยายไปสู่ระดับสากลด้วยความรวดเร็ว ปัจจุบันมีนักกีฬาและทีมที่มีชื่อเสียงตามที่ต่าง ๆ ทั่วโลก
บาสเกตบอลเป็นกีฬาที่เล่นในร่มเป็นหลัก สนามที่ใช้เล่นมีขนาดค่อนข้างเล็ก คะแนนจะได้จากการโยนลูกเข้าห่วงจากด้านบน (เรียกว่า ชู้ด, shoot) ทีมที่มีคะแนนมากกว่าในตอนจบเกมจะเป็นฝ่ายชนะ สามารถนำพาลูกโดยการกระเด้งกับพื้น (เลี้ยงลูก, dribble) หรือส่งลูกกันระหว่างเพื่อนร่วมทีม เกมจะห้ามการกระทบกระแทกที่ทำให้เป็นฝ่ายได้เปรียบ (ฟาว, foul) และมีกฎข้อบังคับเกี่ยวกับการครองบอล
เกมบาสเกตบอลมีการพัฒนาเทคนิคการเล่นต่าง ๆ เช่น การชู้ต การส่ง และ การเลี้ยงลูก รวมไปถึงตำแหน่งผู้เล่น (ซึ่งตามกฎแล้วไม่จำเป็นต้องมี) และตำแหน่งการยืนในเกมรุกและเกมรับ ผู้เล่นที่ตัวสูงถือเป็นข้อได้เปรียบ ถึงแม้ว่าในการเล่นแข่งขันจะควบคุมโดยกฎกติกา การเล่นรูปแบบอื่น ๆ สำหรับเล่นผ่อนคลายก็มีการคิดขึ้น บาสเกตบอลยังเป็นกีฬาที่คนนิยมดูอีกด้วย[3]

ประวัติกีต้าร์

เครื่องดนตรีที่มีลักษณะคล้ายกีตาร์เป็นที่นิยมมากว่า 5,000 ปีเป็นอย่างต่ำ โดยเริ่มเป็นที่นิยมในแถบเอเชียกลาง เรียกว่าซิตาร่า (Sitara) เครื่องดนตรีที่มีรูปแบบคล้ายคลึงกีตาร์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ค้นพบมีอายุ 3,300 ปี เป็นหินสลักของกวีอาณาจักรโบราณฮิตไตต์
คำว่ากีตาร์มาจากภาษาสเปนคำว่า guitarra ซึ่งมาจากภาษากรีกอีกทีคือคำว่า Kithara kithara จากหลายแหล่งที่มาทำให้คำว่ากีตาร์น่าจะมีรากศัพท์มาจากภาษาตระกูลอินโดยูโรเปียน guit- คล้ายกับภาษาสันสกฤต ที่แปลว่า ดนตรี และ -tar หมายถึง คอร์ด หรือ สาย คำว่า qitara เป็นภาษาอาราบิก ใช้เรียก Lute lute ส่วนคำว่า guitarra เกิดขึ้นเมื่อเครื่องดนตรีชนิดนี้ถูกนำมาที่ Iberia (หรือ Iberian Peninsular เป็นคาบสมุทรทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ในทวีปยุโรป) โดย Moors
กีตาร์ในยุคปัจจุบัน มาจากเครื่องดนตรีที่เรียกว่า cithara ของชาวโรมัน ซึ่งนำเข้าไปแพร่หลายในอาณาจักรฮิสปาเนีย หรือสเปนโบราณ ประมาณ ค.ศ. 40 จากนั้นเปลี่ยนแปลงรูปแบบจนกลายมาเป็น เครื่องดนตรีที่มี 4 สายเรียกว่า อู๊ด (oud) นำเข้ามาโดยชาวมัวร์ในยุคที่เข้ามาครอบครองคาบสมุทรไอบีเรียน ในศตวรรษที่ 8 ส่วนในยุโรปมีเครื่องดนตรีที่เรียกว่า ลุต (lute) ของชาวสแกนดิเนเวียมี 6 สาย ในสมัย ค.ศ. 800 เป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมในกลุ่มชาวไวกิ้ง
ค.ศ. 1200 กีตาร์ 4 สาย มี 2 ประเภท คือ กีตาร่า มอ ริสกา หรือกีตาร์ของชาวมัวร์ มีลักษณะกลม ตัวคอกว้าง มีหลายรู กับกีตาร่า ลาติน่า ซึ่งรูปร่างคล้ายกีตาร์ในปัจจุบัน คือมีรูเดียวและคอแคบ ในศตวรรษที่ 16 เครื่องดนตรีคล้ายกีตาร์ของชาวสเปน ที่เรียกว่าวิฮูเอล่า เป็นเครื่องดนตรีที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกีตาร์ในปัจจุบัน มีความผสมผสานระหว่างเครื่องดนตรีอู๊ดของชาวอาหรับและลูตของยุโรป แต่ได้รับความนิยมในช่วงสั้น ๆ พบเห็นจนถึงปี 1576
เครื่องดนตรีชิ้นแรกที่มีรูปลักษณ์เหมือนกีตาร์ในปัจจุบัน เกิดในช่วงยุคปลายของสมัยกลางหรือยุคต้นสมัยเรอเนสซอง (500 กว่าปีที่แล้ว) เป็นช่วงที่มีการใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายกันทั่วโลก ในยุคนั้นกีตาร์มีทั้งแบบ 4 และ 5 สาย สำหรับกีตาร์ที่มี 6 สาย ระบุว่ามีขึ้นในปี 1779 เป็นผลงานของนายแกตาโน วินาซเซีย (Gaetano Vinaccia) ในเมืองเนเปิล อิตาลี แต่ก็ถกเถียงกันว่าอาจเป็นของปลอมสำหรับตระกูลวินาซเซียมีชื่อเสียงในการผลิตแมนโดลินมาก่อน
กีตาร์ไฟฟ้าตัวแรกเริ่มผลิตขึ้นในศตวรรษที่ 20 โดยจอร์จ โบแชมป์ (George Beauchamp) ได้รับสิทธิบัตรในปี 1936 และร่วมกับ ริกเค่นแบ็กเกอร์ (Rickenbacker) ตั้งบริษัท Electro String Instrument ผลิตกีตาร์ไฟฟ้าในช่วงปลายปีทศวรรษที่ 1930 ต่อมาในช่วงทศวรรษ 1960 จอห์น เลนนอน สมาชิกวงเดอะบีทเทิลส์ใช้กีตาร์ยี่ห้อนี้ ส่งผลให้เครื่องดนตรียี่ห้อนี้มีชื่อเสียงในกลุ่มนักดนตรีในยุคนั้น และในปัจจุบันบริษัทริกเค่นแบ็กเกอร์ เป็นบริษัทผลิตกีตาร์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา[1]

[แก้] ประเภทของกีตาร์

[แก้] กีตาร์โปร่ง หรือ อะคูสติกกีตาร์

Renaissance guitars
มีขนาดเล็กกว่ากีตาร์คลาสสิก และให้เสียงที่เบากว่ามาก
Classical guitars
กีตาร์คลาสสิก ถือเป็นต้นแบบกีตาร์ในยุคปัจจุบัน มีลูกบิดและแกนพันสายเป็นพลาสติก มีคอหรือฟิงเกอร์บอร์ดขนาดใหญ่ประมาณ 2 นิ้ว ลักษณะแบนราบ สายที่1 และ2 เป็นสายไนล่อน
Portuguese guitar
มี 12 สาย ใช้กับเพลงพื้นเพลงชื่อ Fado ในประเทศโปรตุเกส
Flat-top (steel-string) guitars
มีขนาดใหญ่กว่ากีตาร์คลาสสิก และเสริมความแข็งแรงที่คอ เพื่อรองรับแรงตึงของสาย ให้เสียงที่ใสและดังกว่า สายที่ใช้ สาย1และ2 มีลักษณะเป็นเส้นลวดเปลือย สายที่3-6 เป็นเส้นลวดและมีขดลวดเล็กๆพันเป็นเกลียวเพื่อเพิ่มขนาดของสาย
Archtop guitars
ด้านหน้าจะโค้ง โพรงเสียงไม่เป็นช่องกลม สะพานยึดสายด้านล่างมักเป็นแบบหางปลา นิยมใช้เล่นในดนตรีแจ๊ส
Resonator
หรือ Resophonic หรือ dobro คล้ายกับกีตาร์ Flat-top
12 string guitars
นิยมใช้ใน folk music, blues และ rock and roll มีสายโลหะ 12 สาย
Russian guitars
มี 7 สาย พบในรัสเซีย และ บางประเทศที่แยกจากสหภาพโซเวียตเท่านั้น
Acoustic bass guitars
เป็นกีตาร์เบสในรูปแบบอคูสติก มีสายและเสียงเหมือนกัน โน้ตที่เล่นจะใช้ "กุญแจฟา" ให้เสียงทุ้มต่ำ นุ่มนวล
Tenor guitars
มี 4 สาย
Harp guitars
จะมีสาย harp เพิ่มขึ้นมา จากปกติที่มี 6 สาย สาย harp จะให้เสียงต่ำหรือเสียงในช่วงเบส ปกติจะไม่มีฟิงเกอร์บอร์ดหรือเฟร็ต
Guitar battente
มีขนาดเล็กกว่ากีตาร์คลาสสิก นิยมใช้เล่นกับเครื่องสายอีก 4-5 ชิ้uยังรักยังหวง

[แก้] กีตาร์ไฟฟ้า

แบ่งตามโครงสร้างของลำตัวกีต้าร์ (Body) อาจแบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ
กีต้าร์ตัวตัน (Solid Body)
หมายถึง กีต้าร์ไฟฟ้าปกติที่ลำตัวมีลักษณะตัน ไม่มีการเจาะช่องในลำตัวกีต้าร์เหมือนอย่างกีตาร์โปร่ง หรือ อะคูสติกกีตาร์ แต่บริเวณลำตัวจะมีตัวรับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนของสายกีต้าร์ (Pick Up) ขณะที่ดีด เพื่อส่งต่อไปยังเครื่องขยายเสียง (Amplifier) ต่อไป โดยทั่วไป ตัวรับสัญญาณจะมี 2 ประเภท คือ ตัวรับสัญญาณแบบแถวเดี่ยวที่เรียกว่า Single Coil และแบบแถวคู่ที่เรียกว่า Humbucker
กีต้าร์ลำตัวกึ่งโปร่ง (Semi-Hallow Body)
เป็นกีต้าร์ไฟฟ้าที่มีลักษณะโครงสร้างส่วนกลางของลำตัวในแนวเดียวกับคอกีต้าร์ มีลักษณะตัน (แต่มีการเจาะช่องเพื่อใส่ตัวรับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนของสายกีต้าร์ (Pick Up) เช่นเดียวกับกีต้าร์ตัวตัน) บริเวณส่วนข้างของกีต้าร์มีการเจาะช่อง (Sound Hole) เอาไว้เพื่อให้เกิดการกำทอนของเสียงมากกว่ากีต้าร์ตัวตัน ซึ่งจะให้เสียงที่เป็นอคูสติกมากขึ้น นิยมใช้ในดนตรีแจ๊สหรือบลูส์ เป็นกีต้าร์ที่ผลิตขึ้นมาเพื่อลดเสียงรบกวนที่เรียกว่าFeed back ซึ่งเกิดจากกีต้าร์ไฟฟ้าลำตัวโปร่ง (กล่าวคือ ยังมีเสียงรบกวนบ้างแต่น้อยลงกว่าเดิม)
กีต้าร์ลำตัวโปร่ง (Hallow Body)
กีต้าร์ไฟฟ้าที่มีการเจาะช่องเอาไว้เพื่อให้เกิดการกำทอนของเสียง (Sound Hole) เช่นเดียวกับกีต้าร์โปร่งหรืออคูสติก และกีต้าร์ลำตัวกึ่งโปร่ง ปกติช่องดังกล่าวมักจะอยู่ด้านข้างของลำตัวกีต้าร์ เนื่องจากบริเวณกลางลำตัวจะมีการใส่ตัวรับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนของสายกีต้าร์ (Pick Up) เช่นเดียวกันกับกีต้าร์ตัวตัน ซึ่งผลของการที่มีช่องกำทอนเสียง ทำให้ลักษณะของเนื้อเสียงที่ได้เป็นอคูสติกมากกว่า กีต้าร์ Semi-Hallow Body แต่หากขยายเสียงให้ดังมากจะก่อให้เกิดเสียงรบกวนที่เรียกว่า Feed back กีต้าร์ประเภทนี้มักจะนิยมใช้กับดนตรีแจ๊สหรือบลูส์เป็นส่วนใหญ่

ประวัติฟุตบอล

ฟุตบอล หรือ ซอกเกอร์ เป็นกีฬาประเภททีมที่เล่นระหว่างสองทีมโดยแต่ละทีมมีผู้เล่น11คน โดยใช้ลูกฟุตบอล เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายว่าเป็นกีฬาที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในโลก[1][2][3]
โดยจะเล่นในสนามหญ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือ สนามหญ้าเทียม โดยมีประตูอยู่กึ่งกลางที่ปลายสนามทั้งสองฝั่ง เป้าหมายคือทำคะแนนโดยพาลูกฟุตบอลให้เข้าไปยังประตูของฝ่ายตรงข้าม ในการเล่นทั่วไปผู้รักษาประตูจะเป็นผู้เล่นเพียงที่สามารถใช้มือหรือแขนกับลูกฟุตบอลได้ ส่วนผู้เล่นอื่นๆจะใช้เท้าในการเตะลูกฟุตบอลไปยังตำแหน่งที่ต้องการ บางครั้งอาจใช้ลำตัว หรือ ศีรษะ เพื่อสกัดลูกฟุตบอลที่ลอยอยู่กลางอากาศ โดยทีมที่ประตูได้มากกว่าจะเป็นผู้ชนะ ถ้าคะแนนเท่ากันให้ถือว่าเสมอ แต่ในบางเกมที่เสมอกันในช่วงเวลาปกติแล้วต้องการหาผู้ชนะจึงต้องมีการต่อเวลาพิเศษ และ/หรือยิงลูกโทษขึ้นอยู่กับกฎระเบียบของรายการแข่งขันนั้นๆ
โดยกฎกติการการเล่นสมัยใหม่จะถูกรวบรวมขึ้นในประเทศอังกฤษ โดยสมาคมฟุตบอลอังกฤษ ในปีพ.ศ. 2406 ได้กำเนิดLaws of the Gameเพื่อเป็นแนวทางกติกาการเล่นในปัจจุบัน ฟุตบอลในระดับนานาชาติจะถูกวางระเบียบโดยฟีฟ่า ซึ่งรายการแข่งขันที่มีเกียรติสูงสุดในระดับนานาชาติคือการแข่งขันฟุตบอลโลกซึ่งจะจัดขึ้นทุกๆ 4 ปี[4]

วันอาทิตย์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

About Us



                                        



                                              



ชื่อ นาย เมธัส  ศักดาญาภรณ์ เลขที่ 46  ม.3/9

ชื่อ ด.ช.นรินทร์  พิมพร  เลขที่ 51 ม.3/9

ชื่อ ด.ช.อภิวัฒน์  เหล่าเภา  เลขที่ 53  ม.3/9